ไทย​ English   การแสดงผล
C
C
C

ข้อมูลข่าวสาร

โดนใจข่าวศึกษา-วัฒนธรรมปี 55

3 ม.ค. 2556 10:24 น.

ผู้อ่าน

<p> <strong style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; no-font-size: 13px; vertical-align: baseline; color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif;">ครุภัณฑ์อาชีวะฉาวไม่จบ</strong><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">   </span><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">ยังคงความยืดเยื้อจบไม่ลงสำหรับปัญหาการจัดซื้อครุภัณฑ์อาชีวศึกษาตามโครงการลงทุนตามแผนปฏิบัติการฟื้นฟูเศรษฐกิจระยะที่ 2 ไทยเข้มแข็ง หรือเอสพี 2 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) มูลค่ากว่า 5,300 ล้านบาท ที่ส่งกลิ่นความไม่ชอบมาพากลในการจัดซื้อครุภัณฑ์ที่ไร้คุณภาพ ไม่ได้มาตรฐานและไม่เป็นไปตามความต้องการของสถานศึกษาเพราะไม่ได้ขอแต่จะให้ จนต้องเอาไปกองทิ้งไว้ ซึ่งสร้างความเสียหายให้แก่วงการอาชีวศึกษาเป็นอย่างมาก เรื่องนี้เป็นข่าวมาอย่างต่อเนื่องร่วม 3 ปี มีการตรวจสอบโดยหลายหน่วยงานแต่ก็ไม่ไปไหน ต้องถือว่าปีนี้เป็นปีที่มีความคืบหน้ามากที่สุดเพราะได้ ศักดา คงเพชร อดีต รมช.ศึกษาธิการ และ ประแสง มงคลศิริ เลขานุการ รมว.ศึกษาธิการ อดีตที่ปรึกษา รมว.ศึกษาธิการ โดดลงมาเล่นเองกระทั่งส่งเรื่องถึงกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) และมีการชี้มูลความผิดผู้ที่เกี่ยวข้องบ้างแล้ว แต่ก็ยังไม่ถึงที่สุดจึงเป็นประเด็นที่ต้องติดตามกันต่อไปในปีหน้าว่ากรรมจะตามใครได้บ้าง</span><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <strong style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; no-font-size: 13px; vertical-align: baseline; color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif;">สถาบันอาชีวะสะดุด</strong><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">ต่อกันที่สถาบันการอาชีวศึกษาซึ่งเป็นอีกเรื่องที่ยึกยักยื้อกันไปมา เสียเวลาไปกว่า 2 ปี กว่าจะประสบความสำเร็จในการจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษา 19 แห่ง เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนอาชีวศึกษาที่จบระดับ ปวช. และ ปวส. ได้เรียนต่อระดับปริญญาตรีสายตรง เพื่อเป็นการยกระดับกำลังคนของประเทศสายเทคโนโลยีโดยไม่ต้องเปลี่ยนไปเรียนสายอื่นเหมือนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นการสูญเปล่าอย่างยิ่งในภาวะที่ประเทศกำลังขาดแคลนกำลังคนด้านเทคโนโลยีเพื่อการแข่งขันกับนานาประเทศโดยเฉพาะเพื่อรองรับการเปิดประชาคมอาเซียน แต่จะน่าเสียดายยิ่งหากความพยายามที่จะผลักดันให้สถาบันการอาชีวศึกษาสามารถเปิดรับนักศึกษาปริญญาตรีรุ่นแรกในปีการศึกษา 2556 ไม่ทัน เพียงเพราะความไม่ลงตัวเรื่องการแต่งตั้งนายกสภาสถาบันการอาชีวศึกษา งานนี้คงต้องวัดใจ รมว.ศึกษาธิการแล้วล่ะว่าจะเห็นแก่ประโยชน์ของเด็กอาชีวะแค่ไหน</span><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <strong style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; no-font-size: 13px; vertical-align: baseline; color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif;">ปรากฏการณ์เด็กบดินทร์</strong><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">เป็นประเด็นร้อนแรงตั้งแต่ต้นปีการศึกษา 2555 สำหรับการรับนักเรียนชั้น ม.4 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ต มาเป็นองค์ประกอบในการพิจารณารับเด็ก ม.3 เรียนต่อ ม.4 โรงเรียนเดิมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20 ทำให้เด็กหลายคนที่ไม่ให้ความสำคัญกับการสอบโอเน็ตต้องผิดหวังที่จะได้เรียนต่อโรงเรียนเดิม ประกอบกับ ศ.ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช อดีต รมว.ศึกษาธิการ เคยเอ่ยปากให้นำแป๊ะเจี๊ยะมาอยู่บนโต๊ะจนถูกมองว่า เป็นการเปิดช่องให้โรงเรียนเรียกรับเงินได้ กระทั่งเกิดปรากฏการณ์เด็กโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 30 กว่าคน ที่พลาดจากการเข้าเรียนต่อ ม.4 รวมตัวประท้วงหน้าโรงเรียนและมีการอดข้าวที่หน้าทำเนียบรัฐบาล พร้อมยื่นตรวจสอบ ผอ.รร.บดินทร์ ถึงความไม่โปร่งใสในการรับนักเรียน และในที่สุดผู้บริหาร สพฐ.ก็ยอมถอย โดยรับเด็กทั้งหมดเข้าเรียน ม.4 ภาคบ่าย แต่เด็กก็ยังเรียกร้องต่อขอเรียนภาคปกติ ซึ่งสุดท้ายก็สมหวัง และจากประเด็นร้อนดังกล่าวทำให้ สพฐ. รื้อวิธีการรับนักเรียน ม.4 ในปีการศึกษา 2556 เรียบร้อยแล้ว</span><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <strong style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; no-font-size: 13px; vertical-align: baseline; color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif;">ปรับเปิดภาคเรียนรับอาเซียน<br />     </strong><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">ชูธงนำขบวนปรับการเปิดภาคการศึกษาของมหาวิทยาลัยในสังกัดที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เพื่อให้สอดคล้องกับปฏิทินการศึกษาสากลหรือรับการเปิดประชาคมอาเซียนก่อนใคร โดยกำหนดช่วงการเปิดภาคการศึกษา วันที่ 15 สิงหาคม-15 กันยายน และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ประเดิมปรับการเปิดภาคการศึกษาเป็นรายแรก ปีการศึกษา 2555 จากนั้นมหาวิทยาลัยใดที่เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติจะเริ่มทยอยปรับปีการศึกษา 2556 และตั้งเป้าปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยสังกัด ทปอ. จะปรับพร้อมกันหมด ตามมาด้วยมหาวิทยาลัยเอกชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) พร้อมที่จะปรับเช่นเดียวกัน ล่าสุดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เองก็มีมติให้โรงเรียนในสังกัดปรับการเปิดภาคเรียน จากวันที่ 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 10 มิถุนายน เพื่อไม่ให้กระทบกับการจัดกิจกรรมของนักเรียนและเอื้อกับการฝึกสอนของนิสิตนักศึกษาฝึกสอนด้วย</span><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <strong style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; no-font-size: 13px; vertical-align: baseline; color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif;">ปิดฉากม.อีสานซื้อขายปริญญา</strong><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">   </span><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">ปิดฉากลงแล้วกับมหาวิทยาลัยอีสาน (มอส.) ที่มีการซื้อขายใบประกาศนียบัตรบัณฑิต (ป.บัณฑิต) วิชาชีพครู หลังจากที่ผ่านมาปล่อยให้คณะกรรมการควบคุม มอส. สะสางปัญหามาปีกว่า แต่ปัญหายากเกินที่จะเยียวยาต่อไปได้ สุดท้าย ศ.ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช อดีต รมว.ศึกษาธิการ จึงสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจัดตั้งหรือปิด มอส. ไป เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2555 แต่ปัญหายังคงไม่จบสิ้น เพราะยังมีนักศึกษาจำนวนหนึ่งที่ตกค้างอยู่และต้องการขอโอนย้ายไปเรียนต่อที่สถาบันอื่น อีกทั้งยังมีนักศึกษาที่คณะกรรมการควบคุม มอส. ได้อนุมัติจบการศึกษาแล้วแต่ยังไม่ได้รับปริญญาและนักศึกษาที่ผ่านการคัดกรองคุณสมบัติที่จบการศึกษาหลังจากที่สั่งปิด มอส. แต่ยังไม่ได้รับปริญญาเช่นกัน ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้เร่งช่วยเหลืออยู่ ขณะเดียวกันนายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รมว.ศึกษาธิการ ได้ตัั้งคณะกรรมการแก้ไขปัญหานักศึกษา มอส. ให้แล้ว</span><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <strong style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; no-font-size: 13px; vertical-align: baseline; color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif;">ผลวัดกึ๋นเด็กไทยยังวูบต่อเนื่อง</strong><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">ไม่พูดถึงคงไม่ได้ สำหรับผลการศึกษาของเด็กไทย ไม่ว่าการสอบวัดผลทั่วประเทศ อย่างการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ต ที่ผลสอบออกมาพบนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ทั่วประเทศเกินครึ่งได้คะแนนต่ำกว่าเกณฑ์ โดยเฉพาะวิชาภาษาอังกฤษ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 38.37 คะแนน และตอกย้ำท้ายปีกับผลวิจัยการศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติ พ.ศ. 2554 หรือ ทิมส์ ที่โชว์ว่า คะแนนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของเด็กไทยอยู่ในระดับแย่ เมื่อเทียบกับ 52 ประเทศทั่วโลก เมื่อผลการชี้วัดหลายตัวออกมาระบุตรงกันเช่นนี้ คงต้องฝากความหวังไว้กับนโยบายด้านการศึกษาว่า เจ้ากระทรวงอย่างนายพงศ์เทพที่ประกาศว่าจะใช้วิธีปรับหลักสูตรการเรียนใหม่ ให้เด็กมีจินตนาการ รู้จักการคิดวิเคราะห์ รวมถึงพัฒนาคุณภาพครู งานนี้คงต้องรอดูผลลัพธ์ว่าเมื่อไหร่ผลการศึกษาของเด็กไทยจะกระเตื้องขึ้น</span><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <strong style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; no-font-size: 13px; vertical-align: baseline; color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif;">เดินหน้าแจกแท็บเล็ต</strong><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">เป็นข่าวฮือฮาต่อเนื่องตั้งแต่ของรัฐบาลปูที่คลอดนโยบายแจกแท็บเล็ต หรือคอมพิวเตอร์พกพาให้แก่นักเรียนชั้น ป.1 ทั่วประเทศ ผ่านโครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย ท่ามกลางเสียงสนับสนุนและคัดค้าน แถมด้วยประเด็นร้อนเรื่องการจัดซื้อที่ไม่ลงตัวจนต้องเลื่อนการเซ็นสัญญากับประเทศจีนออกไป แต่ในที่สุดแล้วรัฐบาลก็ได้ปล่อยแท็บเล็ตถึงมือเด็กและครูชั้น ป.1 แล้วกว่า 900,000 เครื่อง ในโรงเรียนทุกสังกัด แต่จะว่าไปแล้วมีโรงเรียนจำนวนไม่น้อยที่เหมือนจะได้โอกาสบนความไม่พร้อม เพราะบางพื้นที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ ไม่มีสัญญาณเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่รัฐบาลก็เลือกที่จะเดินหน้านโยบายต่อ โดยในปีการศึกษา 2556 จะขยายการแจกแท็บเล็ตให้แก่นักเรียนชั้น ม.1 และ ป.1 รุ่นใหม่ รวมจำนวน 1,659,416 เครื่อง โดยประกาศจัดซื้อผ่านระบบอีอ๊อคชั่น แบ่งการจัดซื้อออกเป็น 5 โซน เพื่อป้องกันการผูกขาดการจัดซื้อจากบริษัทเดียว</span><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <strong style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; no-font-size: 13px; vertical-align: baseline; color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif;">คำยืมภาษาอังกฤษพ่นพิษ</strong><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">สร้างกระแสด้านภาษาไม่น้อย หลังจากราชบัณฑิต โดย ศ.ดร.กาญจนา นาคสกุล ออกมาเปิดเผยถึง การเตรียมเปลี่ยนแปลงการเขียนคำที่ยืมจากภาษาอังกฤษใหม่ เนื่องจากพบว่ามีคำศัพท์ที่ยืมมาจากคำภาษาอังกฤษ 176 คำ เขียนไม่ตรงกับเสียงวรรณยุกต์ของคำนั้น ๆ ตามอักขระวิธีไทย โดยเฉพาะชาวต่างชาติที่มาเรียนภาษาไทย หรือว่าฝึกอ่านภาษาไทย เมื่อมาเจอคำศัพท์บางคำที่ไม่มีวรรณยุกต์ จึงเกิดความสับสน ถึงขั้นอ่านไม่ออก อย่างเช่นคำว่า “แคลอรี” การเขียนให้ตรงกับการออกเสียงต้องเป็น “แคลอรี่” หรือว่าคำว่า “โควตา” ถ้าจะให้ตรงกับการออกเสียงต้องเป็นคำว่า “โควต้า” รวมทั้ง “เรดาร์” ต้องเป็นคำว่า “เรด้าร์” เพื่อให้ตรงตามเสียงของคำนั้น ๆ ทำให้ราชบัณฑิตมีแนวคิดเปลี่ยนคำยืมเหล่านั้น เมื่อกระแสข่าวนี้แพร่ออกมาสู่สังคม ความคิดเห็นต่าง ๆ มากมาย พุ่งตรงมายังราชบัณฑิตยสถาน โดยเฉพาะกระแสความไม่เห็นด้วยว่าจะทำให้เกิดความสับสนในสังคมไทย สุดท้ายก็พับโครงการเก็บใส่กระเป๋าเงียบหายไป</span><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <strong style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; no-font-size: 13px; vertical-align: baseline; color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif;">สมชาย ไขก๊อกปลัด วธ.</strong><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">วันที่ 7 พฤศจิกายน 2555 อยู่ ๆ พ่อบ้านสมชาย เสียงหลาย ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ได้ประกาศไขก๊อกตัวเองลาออกจากราชการ ทิ้งตำแหน่งปลัดกระทรวง เรียกว่าสร้างความฮือฮาจนเกิดกระแสวิจารณ์ต่าง ๆ นานา บ้างก็ว่าเพราะถูกดันจาก รมว.วัฒนธรรมตระกูล คุณปลื้ม ให้หลีกทางให้คนของตัวเอง บ้างก็ว่า เพราะร่างกายไม่ค่อยสมบูรณ์ บ้างก็บอกว่า เป็นเด็กประชาธิปัตย์ ประกอบกับก่อนหน้านี้การทำงานของนายสมชายกับ รมว.วัฒนธรรมที่ไม่ค่อยลงรอยมีออกมาให้เห็นเป็นระยะ ทำให้คนพุ่งเป้าไปที่การถูกกดดันมากกว่าเรื่องสุขภาพ แต่สุดท้ายนายสมชายเองก็ออกมายืนยันว่าไม่มีการกดดันใด ๆ หรือว่าใครมาบังคับอะไร ได้คิดเรื่องนี้นานแล้ว จึงถือเป็นปลัดกระทรวงคนแรกในรอบปี 2555 ที่ลาออกก่อนที่จะหมดวาระการทำงานถึง 9 เดือน</span><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <strong style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; no-font-size: 13px; vertical-align: baseline; color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif;">เรื่องวุ่น ๆ สรรหากรรมการคุรุสภา</strong><br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <br style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;" /> <span style="color: rgb(51, 51, 51); no-font-family: Thonburi, Tahoma, Arial, sans-serif, serif; no-font-size: 13px;">ส่งท้ายปีด้วยเรื่องการเสนอชื่อประธานและผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุรุสภา ซึ่งเป็นเรื่องเป็นราวร้องเรียนเกี่ยวกับความถูกต้องของการปฏิบัติตามกฎหมาย เริ่มมาตั้งแต่การคัดเลือกคณะกรรมการสรรหาที่ว่าไม่ถูกต้องมาตั้งแต่ต้น ว่าด้วยเรื่องการได้มาที่ไม่น่าจะถูกต้องนัก เมื่อกรรมการสรรหามาอย่างไม่ถูกต้องแล้วคนที่ได้รับการคัดเลือกโดยคณะกรรมการสรรหาจะถูกต้องหรือไม่ เรื่องนี้เป็นปัญหาที่ต้องการคนตัดสิน ซึ่ง รมว.ศึกษาธิการต้องเป็นผู้ชี้ขาดว่าจะเดินหน้าหรือกลับไปเริ่มต้นใหม่ ซึ่งล่าสุดค่อนข้างแน่นอนแล้วว่านายพงศ์เทพ เทพกาญจนา เสนาบดีกระทรวงศึกษาธิการจะเดินหน้าต่อโดยจะนำรายชื่อประธานและผู้ทรงคุณวุฒิเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) หลังปีใหม่ แต่เรื่องคงไม่จบแค่นั้นเพราะผู้มีส่วนได้เสียโดยเฉพาะผู้สมัครรับการสรรหาเป็นประธานบางคนจะใช้สิทธิฟ้องร้องตามกฎหมาย ก็คงต้องคอยดูกันคงไม่นานเกินรอ.</span></p>